Label

Strength (จุดแข็ง – ปัจจัยภายใน)
📜 การเรียนการสอนที่เน้นผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติ อดทน สู้งาน 44
📜 มีองค์ความรู้ทางด้านเกษตรที่เข้มแข็ง 31
📜 มีความโดดเด่นและเป็นเลิศด้านวิชาการเกษตร 27
📜 มีศาสตร์เฉพาะทางด้านการเกษตรที่มีชื่อเสียงมายาวนาน 25
📜 สาขาวิชาทางการเกษตรที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ 18
📜 มีอัตลักษณ์ด้านการเกษตร 36
📜 อาจารย์มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ มีศักยภาพ และมีความรู้ความสามารถสูง 6
📜 มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาด 3
📜 มีผลงานวิจัยและเทคโนโลยี นวัตกรรมที่โดดเด่น 1
📜 มีองค์ความรู้ด้านการเกษตร ที่ตอบสนองนโยบายระดับชาติและระดับโลก 5
📜 มีผลงานวิจัยที่เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4
📜 มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทำวิจัยหลากหลายด้าน 6
📜 อาจารย์ นักวิจัย กระตือรือร้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรม 3
📜 การพัฒนางานด้านวิจัย เพื่อพัฒนาสู่การตั้งรูปแบบบริษัทขึ้นมา 1
📜 มีหน่วยงาน หรือบริษัทภายนอกเข้ามาทำ MOU เพื่อร่วมศึกษาวิจัยในด้านพืชอย่างเสมอ 1
📜 มีความโดดเด่นในการบริการสังคมและเข้าถึงชุมชนอย่างต่อเนื่อง 22
📜 เป็นที่พึ่งของชุมชนและสังคม 21
📜 มีส่วนร่วมกับชุมชนอย่างใกล้ชิด 5
📜 มีผลงานบริการวิชาการและทำนุบำรุงฯที่มีความเชื่อมโยงกับการเรียนการสอน 1
📜 มีบุคลากรที่มีความเข้มแข็งในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน 13
📜 มีองค์ความรู้ที่หลากหลาย 11
📜 อยู่ใกล้พื้นที่ทำการเกษตร สามารถเข้าถึงเกษตรกรได้ง่าย 17
📜 ผู้บริหารเห็นความสำคัญของความเป็นนานาชาติ 8
📜 เป็นสถาบันแรกที่บุคคลภายนอกคิดถึง เมื่อต้องการแก้ปัญหาทางด้านการเกษตร 12
📜 มีเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ศิษย์เก่ามีศักยภาพสูงมาก 9
📜 จุดอ่อนคือ ยังไม่ได้ชูด้านที่เราเด่นมากนัก ทำให้คนไม่ค่อยรู้จักมากที่ควร อยากให้ลองทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้น่าสนใจและทันสมัย เพื่อที่บุคคลภายนอกจะได้เข้าถึงมอเรามากขึ้น 3
Weakness (จุดอ่อน-ปัจจัยภายใน)
📜 การให้ความสำคัญกับจำนวนนักศึกษารับเข้ามากกว่าคุณภาพของนักศึกษาที่รับเข้า 28
📜 รับนักศึกษาจำนวนมากโดยไม่คำนึงถึงระบบสาธารณูปโภคของทางมหาวิทยาลัยที่จะรองรับได้ เช่น ห้องเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ 45
📜 สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนยังไม่เพียงพอ โดยเฉพาะภาคปฏิบัติ เช่น งานฟาร์มด้านการเกษตร งบประมาณสนับสนุนการเรียนการสอนน้อยมาก 29
📜 ระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ 25
📜 นโยบายกับหน่วยงานที่ขับเคลื่อนจากส่วนกลางไม่มีความสอดคล้องกัน 29
📜 ขาดเงินทุน ยิ่งคณะ สาขาที่นศ.น้อยยิ่งประสบปัญหาด้านงบประมาณ 11
📜 ขาดการซ่อมบำรุงอุปกรณ์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 24
📜 หลักสูตร และการเรียนการสอน ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงให้ทันต่อสภาพการณ์ได้อย่างทันท่วงที 14
📜 ยังคงมีบางสาขาวิชาที่ยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้เรียนและผู้ใช้บัณฑิต 13
📜 การกำหนดสัดส่วนภาระงานสอน งานวิจัยและบริการวิขาการ 12
📜 ทุนวิจัยที่ไม่ใช่ด้านการเกษตรมีน้อย ยุทธศาสตร์วิจัยนอกเหนือด้านการเกษตรไม่ชัดเจน 6
📜 อาจารย์มีผลงาน แต่การเผยแพร่หรือสร้างการรับรู้อย่างทั่วถึงไม่มี มีหรืออาจจะรับรู้เฉพาะกลุ่มบุคคล 10
📜 ยังขาดการสนับสนุนทุนวิจัยที่เพียงพอ มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญกับงานวิจัยในรูปแบบนวัตกรรมมากเกินไปและมองข้ามงานวิจัยในรูปแบบการตีพิมพ์ ทำให้ด้านงานวิจัยไม่สามารถขับเคลื่อนไปได้ 7
📜 หัวข้องานวิจัยของมหาวิทยาลัยไม่สามารถนำใช้ประโยชน์ และนำไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ได้ 6
📜 ระเบียบไม่เปิดโอกาส ไม่เอื้อให้บุคลากรทำงานอย่างเต็มความสามารถ 20
📜 ระบบบริหารจัดการและสนับสนุนงานวิจัย ยังไม่ดีพอ มีเงื่อนไข ข้อแม้มากมาย 9
📜 การสนับสนุนการทำวิจัย หรือแหล่งทุนยังมีน้อย และขาดการให้รางวัลหรือค่าตอบแทน 5
📜 มีหลายหน่วยงานมากเกินไปและแต่ละหน่วยการก็ไม่ได้ทำงานร่วมกัน บางหน่วยงานก็ทำงานคล้ายกัน ควรแบ่งแยกงานให้ชัดเจน เช่น คลินิกเทคโนโลยี MAP Maid จุดone-stop-service foodinopolis iNnoagri เป็นต้น 33
📜 การให้บริการวิชาการยังเป็นแบบให้เปล่า ไม่เน้นการสร้างรายได้ 22
📜 ขาดการติดตามการทำงานของสายสนับสนุนทำให้การดำเนินงานต่างๆมีปัญหา ไม่สามารถสำเร็จลุล่วงทันเวลา 14
📜 ด้านความเป็นนานาชาติขาดการแสวงหา collaboration ใหม่ 12
📜 การบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยไม่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ 19
📜 การบริหารทรัพย์สิน ไม่มีการพัฒนาในเรื่องใหม่ ทำแต่เรื่องเดิมๆ สร้างขั้นตอนยุ่งยาก ไม่เอื่อให้เกิดรายได้ 14
📜 การจัดการหรือจัดสรรงบประมาณเพื่อความเป็นนานาชาติน้อย ระเบียบข้อบังคับไม่ยืดหยุ่น ไม่สอดคล้องกับระดับสากล 8
📜 งบประมาณน้อยมาก มหาวิทยาลัยไม่สนใจหรือไม่สนับสนุนให้ส่วนงานรับผิดชอบด้วยตนเอง ซึ่งปัจจุบันเงินรายได้จาก จน นักศึกษาลดลง 9
📜 งบบุคลากรมากเกินไปโดยไม่จำเป็น โดยเฉพาะสายสนับสนุนที่อยู่ส่วนกลาง (มาจากระบบอุปถัมภ์มากเกินไป) 16
📜 บุคลากรขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน 25
📜 ไม่มีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน จึงทำให้เกิดการทำงานวนไปวนมา งานจึงไม่สำเร็จ 11
📜 บุคลากรประเภทวิชาการวางอำนาจกับบุคลากรประเภทสนับสนุนจึงก่อให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นไปได้ยาก 6
📜 ขาดการสร้างอัตลักษณ์ของบุคลากรที่ชัดเจน (ในอดีตจะมีความชัดเจนในอัตลักษณ์คาวบอยผ่านการแต่งกาย) ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 3
📜 ขาดระบบการจัดการวิกฤติ มีเฉพาะความเสี่ยงและการควบคุมภายใน เมื่อเกิดวิกฤติบางครั้งไม่มีแนวทางในการจัดการที่เหมาะสม 3
📜 แผนงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยไม่ชัดเจน เป็นลักษณะเนื้องานประจำของกองเทคโนโลยีดิจิทัลมากกว่า 36
📜 ขาดแผนป้องกันความเสี่ยงในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการจัดการด้าน PDPA อย่างเป็นรูปธรรม 8
📜 ระเบียบไม่เอื้อต่อการสร้างรายได้ให้มหาวิทยาลัย 8
📜 จุดอ่อนคือ ยังไม่ได้ชูด้านที่เราเด่นมากนัก ทำให้คนไม่ค่อยรู้จักมากที่ควร อยากให้ลองทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้น่าสนใจและทันสมัย เพื่อที่บุคคลภายนอกจะได้เข้าถึงมอเรามากขึ้น 0
📜 จุดอ่อนคือ ยังไม่ได้ชูด้านที่เราเด่นมากนัก ทำให้คนไม่ค่อยรู้จักมากที่ควร อยากให้ลองทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้น่าสนใจและทันสมัย เพื่อที่บุคคลภายนอกจะได้เข้าถึงมอเรามากขึ้น 0
Opportunity (โอกาส-ปัจจัยภายนอก)
📜 นโยบายชาติในการพัฒนา S Curve ด้านอาหารและเทคโนโลยีชีวภาพ ที่ม.แม่โจ้สามารถพัฒนาได้ 13
📜 ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างชาติมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ จีน ไต้หวัน ลาว ฯลฯ 4
📜 เครือข่ายมหาวิทยาลัย และศิษย์เก่า 28
📜 หลักสูตรด้านการเกษตร อาหาร และ ท่องเที่ยว หรืออื่นๆ ยังเป็นความต้องการของประเทศ 16
📜 ผู้ประกอบการเชื่อมั่นในชื่อเสียงด้านการผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติ อดทน สู้งาน ของมหาวิทยาลัย 3
📜 นโยบายของประเทศมีเรื่องการพัฒนาด้านการเกษตรและยกระดับคุณภาพชีวิต 9
📜 ความต้องการอาชีพของคนในปัจจุบัน (การเกษตร)สามารถผลิตหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการ 5
📜 ความทันสมัยของยุคดิจิตอล 7
📜 มีแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนงบประมาณเป็นจำนวนมาก 10
📜 ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้การเกษตร และท่องเที่ยว จึงมีโจทย์ให้ทำวิจัยมาก 4
📜 โจทย์วิจัยด้านการเกษตร ความมั่นคงด้านอาหาร 9
📜 ชื่อเสียงด้านการบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับของภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร 8
📜 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำมาใช้ในการบริหารจัดการแทนคน 8
📜 การเกษตรมีความสำคัญต่อความมั่นคงทางอาหารของโลก 14
Threat (อุปสรรค-ปัยจัยภายนอก)
📜 การเปลี่ยนแปลงในทิศทางความต้องการในสาขาวิขาอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่ได้พัฒนาขึ้น 13
📜 การแข่งขัยด้านหลักสูตรมากขึ้น หากไม่เข้มแข็งและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/การบริหารจัดการที่ดี จะส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอน คุณภาพหลักสูตร 18
📜 จำนวนการเกิดของประชากรน้อยลง 24
📜 คู่แข่งขันที่มีชื่อเสียงเปิดโอกาสทางการศึกษามากขึ้น โดยเพิ่มจำนวนรับมากขึ้น 30
📜 บริบทสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อาทิเช่น จำนวนผู้ที่สนใจเรียนในระบบมหาวิทยาลัยน้อยลง 13
📜 จำนวนคนในวัยเรียนลดลง 7
📜 ด้านเศรษฐกิจทึ่ชะลอตัว 9
📜 สภาพเศรษฐกิจฝืดเคือง งบประมาณถูกตัด 12
📜 แหล่งงบประมาณวิจัยมีข้อจำกัดมากมาย 7
📜 ประชาชนแสวงหาแหล่งความรู้ได้หลากหลายมากขึ้น นอกเหนือจากการเข้ารับบริการจากมหาวิทยาลัย 21
📜 สภาวะเศรษฐกิจถดถอย รัฐตัดงบประมาณแผ่นดิน ให้พึ่งพางบรายได้ของตนเอง 12
📜 การแข่งขันของมหาวิทยาลัยในระดับบัณฑิตศึกษาที่รุนแรงในมิติด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน (เอกชนสอนออนไลน์ 100%) ระยะเวลาในการสำเร็จการศึกษา (เอกชน ป.โทเรียน 1 ปี) และการเปิดสาขานอกสถานที่ตั้ง (เอกชนสามารถเปิดได้อย่างสะดวกและง่ายกว่า) 11
📜 การแข่งขันสูง หลักสูตรต้องเข้มให้มากขึ้น ไม่งั้นสู้เขาไม่ได้ 4
📜 การแข่งขันสูง หลักสูตรต้องเข้มให้มากขึ้น ไม่งั้นสู้เขาไม่ได้ 8